ถูกใช้ครั้งแรกหลังจากจิตกร อุคิโยเอะ ชื่อ โฮคุไซพิมพ์หนังสือชื่อโฮคุไซมังงะในคริสศตวรรษที่19 นักประวัติศาสนบางกลุ่มเห็นว่ามังงะมีประวัติยาวนานโดยมีหลักฐานคือภาพกิกะ แปลว่าภาพตลก และเป็นที่นิยมในศตวรรตที่12 มีลักษณะคล้ายคลึงกับมังงะในปัจจุบัน เช่น การเน้นเนื้อเรื่องและการใช้เส้นที่เรียบง่ายแต่สละสลวย เป็นต้น
มังงะพัฒนามาจากการผสมผสานศิลปะการวาดภาพแบบอุคิโยเอะกับจิตรกรตะวันตก ความพยายามของคนญี่ปุ่นที่จะพัฒนาตัวเองให้ทันกับมหาอำนาจตะวันตกในช่วงปลายศตวรรษที่19 ผลักดันให้ญี่ปุ่นนำเข้าวัฒนธรรมตะวันตกหลายรูปแบบ รวมทั้งการจ้างศิลปินตะวันตกมาสอนศิลปินญี่ปุ่นเกียว กับองค์ประกอบทางศิลปะ เช่น รูปทรง และสี ซึ่งการวาดภาพอุคิโยเอะไม่ให้ความสำคัญเนืองจากคิดว่าความรู้สึกโดยรวมภาพสำคัญกว่า มังงะเป็นที่รู้จักกันในปัจจุบันเริ่มก่อตัวเป็นรูปเป็นร่างในช่วงสงครามโลกครั้งที่2 หลังจากที่รัฐบาลญี่ปุ่นถูกสหรัฐอเมริกาบังคับให้เปิดเสรีภาพแก่สื่อมวลชน
ในศตวรรดที่20คำว่ามังงะเปลี่ยนความหมายเดิมมาหมายถึงหนังสือการ์ตูน อย่างไรก็ดีคนญี่ปุ่นมักใช้คำนี้เรียกหนังสือการ์ตูน สำหรับเด็ก
ส่วนหนังสือการ์ตูนทั้วไปจะเรียก คอมมิก(comics)ในประเทศที่พูดภาษาอังกฤษ มังงะ(manga)ถูกใช้เรียกหนังสือการ์ตูนจากประเทศญี่ปุ่น ส่วนในประเทศไทยคำว่ามังงะไม่เป็นที่นิยม
ส่วนหนังสือการ์ตูนทั้วไปจะเรียก คอมมิก(comics)ในประเทศที่พูดภาษาอังกฤษ มังงะ(manga)ถูกใช้เรียกหนังสือการ์ตูนจากประเทศญี่ปุ่น ส่วนในประเทศไทยคำว่ามังงะไม่เป็นที่นิยม
มังงะมีความสำคัญต่อวัฒนธรรมญี่ปุ่นและได้รับการยอมรับจากคนญี่ปุ่นว่าเป็นวิจิตศิลป์และวรรณกรรมรูปแบบหนึ่ง มังงะในปัจจุบันถูกวิพากษ์วิจารณ์จากกลุ่มอนุรักษ์นิยม ทั้งในญี่ปุ่นและต่างประเทศว่ามีความรุนแรงและเนื้อหาทางเพศปะปนอยู่ แต่อย่างไรก็ดี ประเทศญี่ปุ่นก็ยังไม่มีกฏหมายจัดระเบียบมังงะ เว้นแต่กฏหมายคลุเครือฉบับหนึ่งที่กล่าวทำนองว่าห้ามผู้ใดจัดจำหน่ายสือที่ขัดต่อความดีงามของสังคมจนเกินไป เท่านั้น นักวาดการ์ตูนในญี่ปุ่นจึงมีเสรีภาพที่จะเขียนมังงะที่มีเนื้อหาทุกรูปแบบได้
การ์ตูนญี่ปุ่นมีมานานหลายปีแล้ว แต่สำหรับชาวไทย จัดเป็นยุคสมัยใหม่ เมื่อย้อนอดีตกลับไปเมื่อประมาน 30กว่าปีก่อน คุณเทจซึคะ โอซามุ ผู้วาดการ์ตูนเรื่อง เจ้าหนูปรมาณู และหนูน้อยหมาป่า จากนั้นฟิจิโมโตะ ชิโรชิและอาบิโกะ โมโตโอะผนึกกำลังเป็นหนึ่งเดียวในนามปากกา ฟูจิโกะ ฟูชิโอะ ผู้วาดการ์ตูนเรื่องโดเรมอน ซึ่งนับเป็นจุดเริ่มต้นของการเฟื่องฟูของการ์ตูนญี่ปุ่นที่ขยายผลครอบคลุมเอเชียอย่างมาก ซึ่งมีการจัดประเภทออกเป็น8ประเภทด้วยกันดังนี้
1.แนววิทยาศาสตร์
2.แนวรักโรแมนติก
3.เรื่องผีๆ และปีศาจ
4.แนวสงคราม ความรักชาติ ความเสียสละ
5.เรื่องจักรๆ วงศ์ๆ ซามูไร
6.เรื่องสาวรุ่น
7.เรื่องปลุกใจ
8.แนวล้ำยุค เป็นต้น
1.แนววิทยาศาสตร์
2.แนวรักโรแมนติก
3.เรื่องผีๆ และปีศาจ
4.แนวสงคราม ความรักชาติ ความเสียสละ
5.เรื่องจักรๆ วงศ์ๆ ซามูไร
6.เรื่องสาวรุ่น
7.เรื่องปลุกใจ
8.แนวล้ำยุค เป็นต้น
บทความในที่นี้ยกมาจาก เว็บ dek d
http://www.youtube.com/watch?v=tCPvRT5fMN8
ประวัติการ์ตูนญี่ปุ่น