Google Translateเครื่องบินเมซเซอร์ชมิท เอ็มอี 262 ชวาเบิล ของนาซีเยอรมนี ซึ่งเป็นเครื่องบินเจ็ตรุ่นแรกของโลก |
อท์ซ เอฟ-4 ยู คอรแซร์ (Vought F4U Corsair) นกเหล็กปีกงอจอมอหังการ ของทหารเรืออเมริกา เป็นหนึ่งในเครื่องบินขับไล่ใบพัดในช่วงสงครามโลกครั้งที่2ที่ผมชอบที่สุด ตัวนึงเลย เนื่องจากเป็นเครื่องบินที่มีความคลาสสิคในตัวมันเอง ใช้เครื่องยนต์สูบดาว ติดอาวุธหนักอัตราการยิงจัดจ้าน ภารกิจหลักเป็นเครื่องบินขับไล่อากาศแรกๆ ประจำการฐานบนบกสังกัดกองกำลังนาวิกโยธิน พอโดนซีโร่ที่มีความคล่องตัวสูงกว่ารุกหนัก เลยมีคอรแซร์เพียงรุ่นเดียวที่ไล่งัดได้อยู่ถึงแม้จะอาศัยช่วงเลี้ยวที่ กว้างกว่าก็ตามแต่ด้วยกำลังและอำนาจการยิงที่สูงกว่าทำให้ ตอนหลังได้ย้ายมาประจำการบนเรือบรรทุกเครื่องบิน มียอดการผลิตนับหมื่นเครื่องในทุกรุ่นและใช้งานในท.อ.ทั่วโลกและมีส่วนเข้า ร่วมรบ จนถึงปี1969เลยทีเดียว คอรแซร์ นั้น ถูกสร้างขึ้นตามความต้องการของ กรมการบินทหารเรืออเมริกา (ยูเอส นาวี) ในเดือนก.พ.ปี1938 ที่ต้องการเครื่องบินขับไล่ 1หรือ2เครื่องยนต์ โดย1เครื่องยนต์ความเร็วขั้นต่ำต้องไม่น้อยกว่า110 ก.ม./ช.ม. ระยะทำการไม่ต่ำกว่า1600 ก.ม. ติดตั้งปืนกลอากาศได้4กระบอกขึ้นไปที่ปีกทั้ง2ด้าน หรือหากใช้3กระบอกต้องมีกระสุนมากพอ สำหรับภารกิจป้องกันอากาศยานเช่น เครื่องบินทิ้งระเบิด นอกจากนั้นยังต้องติดตั้งระเบิดขนาดเล็กได้อีกเช่นกัน แผนแบบ คอร์แซร์เครื่องต้นแบบ ถูกยื่นให้ท.ร.ในเดือนมิถุนายน ปีเดียวกันนั้นเอง โดยการนำของหัวหน้าวิศวกร เร็กซ์ บีเซล และทีมงานของ วอท์ซ ซึ่งมี แฟรง์ค อัลไบร์ท เป็นหัวหน้าโครงการ พอล์ท เบเกอร์ วิศกรด้านอากาศพลศาสตร์ วิศกรเครื่องยนต์ เจม ชูเมเกอร์ ซึ่งคนเหล่านี้ทำให้ บีเซลออกแบบเสร็จก่อนเสนอให้ท.ร. กำหนดแบบเป็น วอท์ซ วี-166-เอ ซึ่งตอนแรก ชูเมเกอร์ จะนำเครื่องยนต์ แพร์ท แอน์ด วิทนีย์ อาร์-1830 สูบดาวระบายความร้อนด้วยอากาศ ซึ่งมีความน่าเชื่อถือสูง มีกำลัง597 แรงม้า(เครื่องยนต์ แพร์ท แอน์ด วิทนีย์ อาร์2800 กับ 1830 มีขนาดเดียวกัน) แต่เนื่องจากเครื่องยนต์ตัวหลัง อาร์-2800 มีกำลังมากที่สุดในโลกในปี1940 จึงถูกนำมาใช้แทนกำหนดเป็น วอซ์ท วี-166บี เอ็กซ์เอฟ-4ยู หมายเลข1443 เสนอแก่กองบินนาวี และได้รับการสร้างแบบจำลองขึ้นมาพร้อมด้วยเครื่องยนต์ เอ็กซ์อาร์-2800-4 ลูกสูบดาว ในเดือน ก.พ. ปี 1938 เครื่องต้นแบบแทบจะเรียกได้ว่าเป็นเครื่งบินขับไล่ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่ กองทัพอเมริกานำเข้าประจำการ ไม่ว่าจะขนาดลำตัว เครื่องยนต์ ปีก และ ใบพัด ที่ใหญ่กว่าเครื่องรุ่นก่อนๆมากเช่น เอฟ-4เอฟ พี-39/40 และที่มาของการงอปีกก็เพราะใบพัด4ใบที่มีขนาดใหญ่จนอาจจะโดนพื้น ดินได้เลยต้องงอปีกให้เป็นฐานล้อเพิ่มความสูง เอ็กซ์เอฟ-4ยู ต้นแบบ ขึ้นบินครั้งแรก 19 พ.ค. 1940 โดยผู้ทำการบินคือ ลีแมน บูลลาร์ด จูเนียร์ ซึ่งมีปัญหาที่แผ่นแฟลบ เนื่องจากการกระพือของชุดควบคุมการเลี้ยว แม้ว่า เอ็กซ์เอฟ-4ยู เครื่องต้นแบบ จะมีขนาดใหญ่ และพึ่งทดลองบินได้ไม่กี่เที่ยว จากการบินอีกครั้งในวันที่ 1 ตุลาคม ปีเดียวกันนั้นเองจากเมืองสตรัสฟอร์ดถึงเมืองฮาฟฟอร์ด รัฐคอนเนคติกัส เป็นการทำสถิติบินเร็วที่สุดของเครื่องบินขับไล่เครื่องยนต์เดี่ยวกองทัพ สหรัฐด้วยความเร็วสูงกว่า 652 ก.ม. ซึ่งตอนแรกกำหนดไว้เพียง640ก.ม./ช.ม. นอกจากนั้นยังมีอัตราการไต่ที่เร็วด้วยเช่นกัน ยังไม่พอยังมีความต้องการจะให้เครื่องบินทำความเร็วได้ถึง800กว่ากิโลเมตร ต่อชั่วโมง ซึ่งแน่นอนย่อมส่งผลต่อโครงสร้างและประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ นอกจากนั้นยังมีความล่าช้าในการพิมพ์เขียวเพื่อส่งแบบให้ทำการผลิตอีก เอฟ-4ยู นั้น ยังติดตั้งเครื่องยนต์ขนาดใหญ่ที่สุดที่เคยมีมาใช้เครื่องยนต์ แพร์ท แอนด์ วิทนีย์ อาร์-2800 18สูบ แบบลูกสูบดาว2แถวล่ะ9สูบ กำลัง2000แรงม้า ซึ่งใช้แผนแบบเครื่องยนต์ จีนอม-โรน 18แอล ความจุ48 ลิตร ระบายความร้อนด้วยอากาศ ติดตั้งเทอร์โบซุปเปอร์ชาร์จ ช่องนำอากาศเข้าอยู่ด้านหน้า ซ้ายและขวาของเครื่องยนต์ และติดตั้งระบบระบายความร้อนน้ำมันเครื่องที่โคนปีกทั้ง2ด้าน เมื่อเครื่องยนต์มีกำลังมหาศาลการออกแบบใบพัดนั้น เป็นของบริษัท ฮามิลตัน สแตนดาร์ท ไฮโดรเมติค 3ใบ เส้นผ่าศูยน์กลาง4เมตร แผนแบบโครงสร้างปีกคล้ายคลึงกับเครื่องบินดำดิ่งทิ้งระเบิดแบบ จุงเกอร์ จู-87 สตูก้า ของท.อ.เยอรมัน เนื่องจากปีกที่งอนั้นทำให้มีปัญหาในเรื่องการประกอบและการทดสอบความแข็งแรง การออกแบบชุดฐานล้อและช่องเก็บล้อเวลาพับขณะบินขึ้นใช้พื้นฐานการออกแบบจากเครื่องบิน เครติส พี-40 ลำตัวเครื่องบินใช้วัสดุหลักเช่น แมกนีเซียมอัลลอย์ ที่มีความแข็งแรงและน้ำหนักเบายึดด้วยรีเวท์ต ซึ่งในช่วงนี้เทคโนโลยีในการผลิตเครื่องบินขับไล่ของอเมริกานั้นยังใช้ผ้าและแผ่นไม้อัดบางส่วนเช่นลำตัวและบริเวณปีก ซึ่งทำให้มีน้ำหนักเบาบินไต่ได้เร็วเมื่อทำมุมบินประมาณ60องศา ในย่านความเร็วสูง ซึ่งหากทำการรบจะมีผลเนื่องจากความแข็งแรงของปีกที่ไม่สามารถทนต่อการยิงได้มากพอ เนื่องจากจะถูกนำไปประจำการบนเรือบรรทุกเครื่องบินทำให้ทางบริษัทต้องแก้ไขปัญหาให้เสร็จสิ้นก่อนส่งเข้าสู่สายการผลิต เช่นชุดล้อหลังและฮุคสำหรับหยุดเครื่องบินขณะลงจอดบนรันเวย์เรือบรรทุกเครื่องบิน นอกจากนั้นยังต้องปรับเปลี่ยนปีกให้สามารถงอพับเก็บได้ขณะจอดในเรือ ซึ่งจะมีผลต่อความแข็งแรงของโครงสร้างปีก ซึ่งทำให้เกิดความล่าช้าในการผลิตมากขึ้นไปอีก ปัญหาต่างๆได้ค้นพบระหว่างการทดลองและยังต้องทำการรบอบรม ฝึกนักบินที่จะขับเจ้าคอรแซร์ที่ประจำการบนเรือบรรทุกเครื่องบินใหม่อีกเนื่องจาก มิติของเครื่องบินที่ใหญ่กว่าทุกรุ่นที่ประจำการบนเรือในช่วงนั้นอาจจะเกิดอันตรายได้ พอบินทดสอบผ้าคลุมน้ำมันเครื่องเสียหายจากการบินในท่าทางต่างจนกระเด็นเต็มกระจกห้องนักบินทำให้มองไม่ค่อยเห็น(เนื่องจากใช้อากาศเข้าไปผ่านเครื่องยนต์ทำให้พาละอองน้ำมันออกมาด้วยทางช่องอากาศออกรอบๆเครื่อง) แถมเวลาทดสอบลงจอดบนเรือบรรทุกเครื่องบินนั้นชุดล้อรับน้ำหนักก็มีปัญหาทำให้เสียการควบคุมเวลาลงจอดบนดาดฟ้าเรือเนื่องจากการกระแทกเพราะชุดรับน้ำหนัก(กระบอกโช๊คแข็งเกินไป) ปัญหาแรกได้รับการแก้ไขด้วยการปิดช่องอากาศออกรอบๆเครื่องยนต์ ให้อากาศอัดออกทางด้านล่าง ปัญหาต่อมานำระบบไฮดรอลิคที่มีความนิ่มกว่าเข้ามาใช้รองรับน้ำหนัก ซึ่งชุดรับน้ำหนักนี่มีผลในการออกแบบ เอฟ-6เอฟ เฮล์ทแคท ข่าว จากสมรภูมิในยุโรปมาถึงกองทัพอเมริกา ว่าปืนกล7.62ม.ม.และ 12.7 ม.ม. อย่างล่ะ2กระบอกไม่เพียงพอเพราะมีอำนาจการยิงที่เบาเกินไปจึงได้ทำการคิดค้น โดยกองสรรพวุธเพื่อทำการเพิ่มอำนาจการยิงโดยต้นแบบ เอ็กซ์เอฟ-4ยู ติดตั้งปืนกลอากาศขนาด บราว์นิ่ง เอ็ม-2 12.7 ม.ม. เพียง4กระบอก กองสรรพวุธจึงมาเสนอให้ติดตั้งเพิ่มเป็น6กระบอกในรุ่น ยู-1 โดยกระบอกคู่ในบรรจุกระสุน400นัดและคู่ด้านนอก375นัด ซึ่งทำให้ต้องปรับเปลี่ยนจุดวางถังน้ำมันเชื้อเพลิงใหม่จะนำมาติดตั้งบริเวณด้านหน้าห้องนักบินแต่ถังน้ำมันจำนวน897ลิตรที่ติดตั้งทางด้านหน้า ไม่เพียงพอจึงต้องย้ายมาไว้ทางด้านหลังติดตั้งห่างจากห้องนักบินไป32นิ้ว ติดตั้งเกราะหนาเพิ่มขึ้น38ม.ม.บริเวณห้องนักบินซึ่งทำให้มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น150ปอน์ด กระจกห้องนักบินเป็นแก้วผสมโพลีเมทาลิค ห้องนักบินที่เล็กและมีพื้นที่ไม่มากแทบจะพอดีตัว กระจกหลังคาห้องนักบินใช้แบบเลื่อนไปทางด้านหลัง ใต้ห้องนักบินติดตั้งกระจกที่ไว้มองขณะนำเครื่องลงบนลานจอดประจำเรือ เพื่อความแม่นยำ นอกจากนั้นยังติดตั้งอุปกรณ์พิสูจน์ฝ่ายหรือ ไอเอฟเอฟ (เกี่ยวกับสัญญาณวิทยุ บริเวณด้านหน้า ในรุ่น ยู-1 )เปลี่ยนเป็นรุ่น เอฟ-4ยู1 เอ อุปกรณ์ไอเอฟเอฟ ติดตั้งทางด้านหลัง กลับมาที่ ยูเอส นาวี ได้ยื่นข้อเสนอทำการผลิต คอร์แซร์ในเดือน พ.ย. ปี1940 ลงนามในหนังสือสัญญาวันที่3มีนาคมปี1941 วอทซ์ได้รับสัญญาจ้างผลิตวันที่2เม.ย. และ สัญญาส่งมอบวันที่2มิ.ย. ปีเดียวกัน โดย ท.ร.มีความต้องการ 584 เครื่อง ในรุ่น เอฟ-4ยู-1เอ ซึ่งต้องทำการผลิตมากเทียบกับพื้นที่โรงงานผลิตรวมถึงลานบินทดสอบที่ยังเป็น พื้นที่ไม่ราบเรียบเท่าที่ควรและไม่มีพื้นที่รองรับเครื่องที่ใช้ในการทดลอง โดยเอฟ-4ยู-1เอ ออกจากโรงงานผลิตในเดือนกันยายนปี1942 ตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่2 การผลิต คอรแซร์ ภายใต้การผลิตร่วมกันของบริษัท วอท์ซ ที่เมืองดัลลาส บริษัท บิวสเตอร์ เมือง ลองไอร์แลนด์ นิวยอร์ค และ กู๊ดเยียร์ เมืองโอไฮโอ จำนวน12751 เครื่องในทุกรุ่นของ เอฟ-4ยู มาตราฐาน |
| Boeing B-17 Flying Fortress |
ย้อนกลับไปสมัยสงครามโลก ครั้งที่สอง กับตำนานแห่งป้อมปราการลอยฟ้าอันเลื่องชื่อของฝ่ายสัมพันธมิตร คราวนี้คุณไม่เพียงแต่เห็นภาพแล้วจินตนาการเท่านั้น แต่ยังได้สัมผัสถึงความรู้สึกในสมัยสงครามโลกครั้งที่สองอย่างแท้จริงB-17 เป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดในสมัยสงครามโลก ครั้งที่สอง ที่สร้างชัยชนะให้กับฝ่ายสัมพันธมิตร ด้วยความน่า-สะพรึงกลัวของบรรดาเหล่าอาวุธที่ติดไว้รอบตัว พร้อมทั้งระเบิดขนาดหมื่นๆ ปอนด์ที่สามารถบอมส์จุดยุทธศาสตร์สำคัญๆ ของเหล่าอักษะได้อย่างง่ายดาย |
Ilyushin-2 Shturmovik คือหมายเลขหนึ่งเครื่องบินต่อต้านรถถังในโลกที่มีทำลายรถถังศัตรูมากกว่าเครื่องบินอื่น ๆ ในระหว่างสงคราม นอกจากนี้ยังถือบันทึกเป็นเครื่องบินที่ผลิตส่วนใหญ่ที่มีกว่า 36,000 หน่วยสร้างขึ้นในยุคสงคราม มันเป็นเหล็กหุ้มเป็นเกราะหนักและมีพื้นดินโจมตีเครื่องบินที่เร็วที่สุดในระดับเดียวกัน ชาวเยอรมันเรียกว่า"Black Death" |
ชตูก้า ย่อมาจาก ชตูล์ซคามพ์ฟลูซอยก์ (Sturzkampfflugzeug) ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Drive Bomber หรือเครื่องบินดำทิ้งระเบิด มันคือเครื่องบินรบที่มีบทบาทสำคัญในการรบสายฟ้าแลบของเยอรมัน โครงการผลิตชตูก้าเริ่มขึ้นเมื่อ เอิร์นส์ อูเด็ต จเรทหารอากาศเยอรมันได้เดินทางไปสหรัฐอเมริกาช่วงก่อนสงครามโลก และได้ชมการแสดงการดำทิ้งระเบิดของเครื่องบินแบบ "เฮลไดรฟ์เวอร์" ของบริษัทเคอร์ติส และเกิดความประทับใจ จึงได้สั่งซื้อเครื่องบินจากเคอร์ติส2ลำเพื่อเป็นต้นแบบในการสร้างชตูก้า ชตูก้า เริ่มผลิตในปี1936 เพื่อใช้ในภารกิจดำดิ่งทิ้งระเบิดด้วยความเร็วสูงเพื่อทำลายที่มั่นทางทหาร และสนับสนุนหน่วยรบภาคพื้นดิน มันได้ติดไซเรนไว้ มีชื่อเรียกว่า แตรแห่งเจลลิโคเพื่อในการทำสงครามจิตวิทยาเพื่อทำลายขวัญของข้าศึก ไซเรนจะดังเมื่อทำการดำทิ้งระเบิดข้าศึกจะเสียขวัญเมื่อได้ยินเสียงไซเรน แต่ต่อมาก็มีการถอดไซเรนนี้ออก เพราะจะเป็นการเปิดเผยเครื่องบินและทำให้ข้าศึกมีเวลาต่อต้านได้ ชตูก้าเป็นปัจจัยสำคัญในชัยชนะของกองทัพเยอรมันในการรบช่วงต้นสงคราม โดยในการรบที่โปแลนด์ ชตูก้าเป็นอาวุธสำคัญในการโจมตีที่มั่นทางทหารและจุดยุทธศาสตร์ แม้กระทั่งโจมตีหน่วยทหารโปแลนด์ที่กำลังทำการรบ แม้กระทั่งการสู้รบกับเครื่องบินขับไล่โปแลนด์ โดยนักบินชตูก้า ก็ได้สอยเครื่องบินรบโปแลนด์ตกได้ ในการรบครั้งสำคัญต่อมาคือ ยุทธนาการเหนือน่านฟ้าอังกฤษ โดยชตูก้าได้เป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดโจมตีภาคพื้นดินต่อเป้าหมายในอังกฤษ และก็ได้ปฏิบัติการในแนวรบตะวันออกระหว่างที่เยอรมันบุกรัสเซีย ต่อมาเยอรมันใช้เป็นกำลังหลักในการโจมตีเกาะครีตและเกาะมอลต้าในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และใช้รบในแอฟริกาเหนือ ต่อมาได้มีการดัดแปลชตูก้าให้เป็นเครื่องบินต่อสู้รถถัง แนวคิดนี้เริ่มขึ้นระหว่างการรบในรัสเซีย กองทัพรถถังของรัสเซียจำนวนมหาศาลได้ถาโถมเข้ามาสู้แนวเยอรมัน จึงมีการทดลองนำปืนต่อสู้รถถังยิงเร็วขนาด37มม.2กระบอก ติดกระสุนเจาะเกราะทังสเตน ใช้ในการโจมตีรถถังโซเวียต ซึ่งก็ปฏิบัติการอย่างได้ผล และได้สร้างตำนานเสืออากาศแห่งเยอรมันนามว่า ฮานส์ อูลริค รูเดล ซึ่งทำลายรถถังด้วยชตูก้ารุ่นต่อสุ้รถถังไปเป็นจำนวนกว่า500คัน ชตูก้า จะโจมตีด้วยการบินขึ้นที่ระดับความสูงระดับ4,600เมตร แล้จะดิ่งลงสู่เป้าหมายทำมุม60-90องศากับพื้นด้วยความเร็วสูงกว่า650กิโลเมตรต่อชั่วโมง ลูกระเบิดจะพุ่งลงมาด้วยความเร็วเท่ากับเครื่องบินและได้รับการส่งด้วยแรงโน้มถ่วงของโลก ทำให้เป้าหมายเบื้องล่างยากจะหหลบหลีก แต่การดำทิ้งระเบิดนี้ นักบินต้องเผชิญกับแรงจี(G)จากการดำดิ่งด้วย ตั้งแต่ปี1936ถึง1944 มีชตูก้าถูกผลิตออกมามากว่า6,000เครื่อง ถึงแม้ว่าช่วงกลางสงครามเยอรมัน จะสามารถสร้างเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิด ซึ่งใช้งานได้หลากหลายและประสิทธิภาพสูงกว่าชตูก้ามาใช้งานได้ แต่เยอรมัน ก็ได้ใช้งานชตูก้าในภารกิจโจมตีภาคพื้นดิน จนจบสงคราม ข้อมูล ยาว--10-11เมตร กว้างรวมปีก--13เมตร น้ำหนักบรรทุก--5,720กิโลกรัม ความเร็ว--- 408กม/ชม ความเร็วเมื่อดำทิ้งระเบิด 650กม/ชม. อาวุธ---ปืนกล 7.92มม. 4กระบอก ระเบิด1,800กิโลกรัม หรือปืนใหญ่ต่อสู้รถถัง37มม. 2กระบอก นักบิน--2นาย พิสัยทำการ---1,000กิโลเมตร จำนวนที่ผลิต---6,000เครื่อง |
ที่ศูนย์มิตซูบิชิ A6M เป็นระยะยาวสู้อากาศยานดำเนินการโดยจักรพรรดินาวีญี่ปุ่นออกอากาศบริการ (IJNAS) 2483 ถึง 2488 จาก ที่ถูกกำหนดให้เป็นสีน้ำเงินเข้มพิมพ์ 0 มิตซูบิชิ A6M ส่งนักรบ ( 零式艦上戦闘機, -ชิกิ- kanjou - sentouki ? ), และยังได้รับมอบหมายให้เป็นมิตซูบิชิมิตซูบิชิสีน้ำเงินเข้ม 12-ชิ-ส. ว. และ A6M reiส่งนักมวยที่มักเรียกตามพันธมิตร A6M ขณะที่ "ศูนย์" จากอู่พิมพ์ชื่อของนักรบพาหะของ 0 เจ้าหน้าที่พันธมิตรรายงานชื่อเป็นซีค เมื่อได้รับการแนะนำในสงครามโลกครั้งที่สองศูนย์คือสิ่งที่ดีที่สุดในโลก-ข่าวนักรบเทคโนโลยี ความคล่องแคล่ว และระยะยาวรวมกันเป็นเลิศ ในช่วงปฏิบัติการสงคราม ศูนย์ได้ชื่อว่าเป็นตำนาน " dogfighter " การกระทำที่ค้างชำระในอัตราส่วนฆ่า 12 to 1, แต่โดยรวม และการนำกลยุทธ์ใหม่ 2485 ดีอุปกรณ์ที่รองรับการทำงานร่วมกันในข้อตกลงเป็นพันธมิตรกันให้เป็นศูนย์จักรวรรดินาวีญี่ปุ่นอากาศ [3] (IJNAS) ยังใช้บริการบ่อยประเภทดินแดนตาม-นักมวย 2486 ด้วย อ่อนและเพิ่มพลังของการออกแบบโดยธรรมชาติเครื่องยนต์อากาศยานหมายความว่าไม่มีผลต่อการรบที่มีศัตรูใหม่กลายเป็นศูนย์ใหญ่อาวุธ เกราะ และความเร็ว และเดินตรงไปที่ศูนย์ของกลยุทธ์ แม้ว่ามิตซูบิชิ A6M กำลังล้าสมัยโดย 2487 มันไม่เคยถูกแทนที่ด้วยญี่ปุ่นอากาศยานประเภทใหม่โดยสิ้นเชิง ช่วงปีสุดท้ายของสงครามในมหาสมุทรแปซิฟิกศูนย์ในพลีชีพดำเนินการ ในสงคราม ศูนย์สร้างเครื่องบินญี่ปุ่นอีกกว่า |
ครื่องบินแมสเซอร์สมิท บี เอฟ 109 ของเยอรมัน เป็นเครื่องบินขับไล่หนึ่งเครื่องยนต์ ขึ้นบินครั้งแรกเมื่อปี 1935 และเมื่อสงครามโลกครั้งที่สอง เปิดฉากขึ้น มันได้กลายเป็นเครื่องบินขับไล่หลักของกองทัพอากาศเยอรมัน และอาจกล่าวได้ว่า เครื่องบินรุ่นนี้ เป็นเครื่องบินรบที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์สงครามโลกครั้งที่สอง แม้ว่าจะติดอาวุธด้อยกว่าเครื่องบินของพันธมิตร เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องบินสปิตไฟร์ของอังกฤษ ตั้งแต่เริ่มสงครามในปี 1939 จนถึง ปี 1941 บี เอฟ 109 เป็นเครื่องบินขับไล่ที่มีความสำคัญมากที่สุดของเยอรมัน ด้วยเครื่องยนต์ขนาด 1,175 แรงม้าของบริษัทเดมเลอร์ เบนซ์ (Daimler-Benz) ที่ทำความเร็วได้สูงสุด 560 กม. ต่อ ชม. ที่ระดับความสูง 4,440 เมตร อัตราการไต่ 1,000 เมตรต่อนาที มีระยะทำการ 650 กม. จะเห็นได้ว่ามันมีขนาดเล็ก ความเร็วสูง เร่งได้เร็ว สามารถไต่ความสูงได้อย่างรวดเร็วเท่าๆกับการดำดิ่ง บี เอฟ 109 ติดอาวุธหลักคือ ปืนใหญ่อากาศขนาด 20 มม. สองกระบอกที่ปีก แต่ละกระบอกมีกระสุน 60 นัด ซึ่งให้อำนาจการยิงอย่างมหาศาล นอกจากนี้ยังมีปืนกลขนาด 7.92 มม. อีกสองกระบอกที่จมูกเครื่องบินเหนือเครื่องยนต์ พร้อมกระสุนกระบอกละ 1,000 นัด |
Supermarine Spitfire เป็นตัวอย่างของเครื่องบินที่มีความเร็วสูงและอัตราการไต่ระดับที่ดีในสงครามโลกครั้งที่ 2 |
เป็นเครื่องบินใบพัดที่ใช้ในกองทัพเยอรมัน เป็นหนึ่งในเครื่องบินรบที่ดีที่สุดในเรื่องของความเร็ว ไม่มีนักบินฝ่ายพันธมิตรที่ต่อสู้ในฟากฟ้าของยุโรปจะลืม feats ของ FW - 190 |
| North American P-51 Mustang |
ลำนี้สามารถสอยเครื่องบินไอพ่นตอนช่วงสงครามเวียดนามได้เลยนะครับแถมลำนี้เป็นเครื่องบินใบพัดซะด้วย (สมัยนั้นเครื่องบินไอพ่นยังไม่ค่อยดีเท่าไรเลยโดนสอย >:D) พี-51 ผู้ผลิตคือบริษัท North American Aviation เริ่มใช้เมื่อปี 1942 และผลิตออกมามากถึงออกมามากถึง 16,766 ลำ มูลค่าก็ 50,985 ดอลลาร์สหรัฐในปี 1945 (622,225 ดอลลาร์ ในมูลค่าปัจจุบันก็ 18.89 ล้านบาทไทย) ข้อมูลจำเพาะของรุ่น P-51H Mustang จำนวนนักบิน : 1 นาย ยาว : 10.16 เมตร ระยะห่างระหว่างปลายปีกสองข้าง : 11.28 เมตร ความสูง : 3.38 เมตร พื้นที่ปีก : 21.83 ตารางเมตร น้ำหนักเปล่า : 3,195 กิโลกรัม น้ำหนักพร้อมอาวุธ : 4,310 กิโลกรัม น้ำหนักวิ่งขึ้นสูงสุด : 5,215 กิโลกรัม ขุมกำลัง : 1× Packard V-1650-9 ระบายความร้อนด้วยของเหลว ซูเปอร์ซาร์ต V-12, 1,490 แรงม้า (1,111 กิโลวัตต์) at 3,000 rpm, 2,220 แรงม้า (1,655 วัตต์) at WEP ข้อมูลทางด้านเครื่องยนต์ ความเร็วสูงสุด : 784 กม./ชม. ที่ระดับความสูง 7,600 เมตร พิสัยทำการบิน : 1,865 กม. พร้อมถังเชื้อเพลิงภายนอก เพดานบินปกติ : 12,700 กม. อัตราการไต่ความสูง : 16.8 เมตร/วินาที |
10อันดับเครื่องบินยุคสงครามโลกครั้งที่2จ้า