แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย sodaman เมื่อ 2014-11-14 19:10
แต่ก็ไม่ใช่ว่าทุกคจะได้ประโยชน์จากน้ำแร่ เพราะถ้าหากหากดื่มมากไปโดยไม่ระวังอาจเป็นผลเสียต่อร่างกายได้ (ซึ่งก็คือร่างกายจะเสียสมดุล ทำให้มีธาตุใดมากเกินไป และเสี่ยงต่อโรคต่างๆ ได้) นอกจากนี้ยังมีคนกลุ่มหนึ่งด้วยที่ไม่ควรดื่มน้ำแร่นั้นก็คือ
ข้อเสียสำหรับผู้ที่ไม่ชอบดื่มน้ำหรือน้ำเปล่า (อันนี้แถม)
วันนี้เราจะมาคุยกันถึงเรื่องของน้ำแร่กันนะครับ!
น้ำแร่จริงๆ แล้วมันก็คือน้ำบาดาลดีๆ นั้นเองแต่ที่มันพิเศษกว่าน้ำบาดาลทั่วไปนั้น (เพราะว่ามันใส่ไข่ไง) ช่าย เอ้ย! ไม่ใช่แล้ว ที่มันแตกต่างจากนำ้บาดาลทั่วไปนั้นเพราะว่าน้ำแร่จะมีความร้อนใต้พิภพ (ใต้ดินนั้นแระ) ที่จะเป็นตัวช่วยในการผสมแร่ธาตุต่างๆ เข้าไปในน้ำมากขึ้นทำให้แร่ธาตุในน้ำมีมากกว่าน้ำบาดาล และเมื่อความร้อนใต้ดินสูงขึ้นมากก็จะประทุและระเบิดเป็นโกโก้ครั้น ไม่ใช่เฟ้ยยย! การเป็นน้ำพุร้อนไงล่ะ
ซึ่งเจ้าน้ำแร่นั้นถือว่ามีประโยชน์ต่อร่างกายเรามาก ป็นที่ยอมรับกันทั่วไปทั้งในยุโรป สหรัฐอเมริกาและเอเชีย น้ำแร่จากน้ำพุร้อนนั้นเมื่อนำมาวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางเคมีแล้วจะตรวจพบแร่ธาตุที่มีประโยชน์มากมาย ยกตัวอย่างเช่น แคลเซี่ยม โซเดี่ยม ฟลูออไรด์ ซัลเฟต เป็นต้น ซึ่งแร่ธาตุต่างๆเหล่านี้เป็นเครื่องมือช่วยส่งเสริมให้น้ำแร่มีบทบาทสำคัญในการบำบัดรักษาและส่งเสริมสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ การอาบน้ำแร่ในขณะที่ยังมีอุณหภูมิสูงนั้นจะช่วยรักษาโรคเกี่ยวกับไขข้อและกล้ามเนื้อต่างๆได้อย่างดี ในขณะเดียวกันน้ำแร่อุณหภูมิปกติ ก็ยังคงอุดมด้วยแร่ธาตุซึ่งมีประโยชน์ สามารถนำมารักษาโรคเกี่ยวกับผิวหนังได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นกัน
วิธีดื่มน้ำแร่แบ่งได้ 2 วิธี คือ
1. การดื่มน้ำแร่ปริมาณมากในระยะเวลาสั้นๆ (Water loading)คือ การดื่มน้ำปริมาณ 1 ลิตร ภายใน 30 นาที ขณะท้องว่าง ซึ่งการดื่มน้ำแร่วิธีนี้จะใช้กับน้ำแร่ชนิดที่หวังผล เช่น เพื่อขับนิ่วออกจากร่างกาย วิธีนี้ไม่ควรดื่มก่อนนอน เนื่องจากจะทำให้ต้องลุกขึ้นมาเข้าห้องน้ำในช่วงกลางคืน
2. การดื่มแบบทยอยในปริมาณไม่สูง (Subdivided doses)คือ การดื่มน้ำแร่ปริมาณ 500 มิลลิลิตร และ ตามด้วยน้ำแร่ 10 มิลลิลิตรต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม โดยจิบน้ำครั้งละน้อยขณะอ่อนเพลีย หรือขณะเดิน หรือพร้อมมื้ออาหาร
สำหรับนักกีฬา ควรดื่มน้ำแร่ที่มีปริมาณเกลือแร่น้อยถึงปานกลาง ตลอด 2 ชั่วโมงก่อนการแข่งขัน โดยดื่ม 100-150 มิลลิลิตร ทุก 15-20 นาที และดื่ม 400-500 มิลลิลิตร 15 นาทีสุดท้ายของชั่วโมงที่ 2 หลังการอบอุ่นร่างกาย ระหว่างการแข่งขัน ควรดื่ม 200-250 มิลลิลิตร ทุก 15-20 นาที โดยปริมาณของเหลวที่ดื่มเข้าร่างกายหลังแข่งขันหรือเล่นกีฬานั้น ควรมีปริมาณร้อยละ 150 ของน้ำหนักตัว ซึ่งปริมาณของเหลวที่บริโภคโดยทั่วไป คือ 50 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน
1. การดื่มน้ำแร่ปริมาณมากในระยะเวลาสั้นๆ (Water loading)คือ การดื่มน้ำปริมาณ 1 ลิตร ภายใน 30 นาที ขณะท้องว่าง ซึ่งการดื่มน้ำแร่วิธีนี้จะใช้กับน้ำแร่ชนิดที่หวังผล เช่น เพื่อขับนิ่วออกจากร่างกาย วิธีนี้ไม่ควรดื่มก่อนนอน เนื่องจากจะทำให้ต้องลุกขึ้นมาเข้าห้องน้ำในช่วงกลางคืน
2. การดื่มแบบทยอยในปริมาณไม่สูง (Subdivided doses)คือ การดื่มน้ำแร่ปริมาณ 500 มิลลิลิตร และ ตามด้วยน้ำแร่ 10 มิลลิลิตรต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม โดยจิบน้ำครั้งละน้อยขณะอ่อนเพลีย หรือขณะเดิน หรือพร้อมมื้ออาหาร
สำหรับนักกีฬา ควรดื่มน้ำแร่ที่มีปริมาณเกลือแร่น้อยถึงปานกลาง ตลอด 2 ชั่วโมงก่อนการแข่งขัน โดยดื่ม 100-150 มิลลิลิตร ทุก 15-20 นาที และดื่ม 400-500 มิลลิลิตร 15 นาทีสุดท้ายของชั่วโมงที่ 2 หลังการอบอุ่นร่างกาย ระหว่างการแข่งขัน ควรดื่ม 200-250 มิลลิลิตร ทุก 15-20 นาที โดยปริมาณของเหลวที่ดื่มเข้าร่างกายหลังแข่งขันหรือเล่นกีฬานั้น ควรมีปริมาณร้อยละ 150 ของน้ำหนักตัว ซึ่งปริมาณของเหลวที่บริโภคโดยทั่วไป คือ 50 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน
แต่ก็ไม่ใช่ว่าทุกคจะได้ประโยชน์จากน้ำแร่ เพราะถ้าหากหากดื่มมากไปโดยไม่ระวังอาจเป็นผลเสียต่อร่างกายได้ (ซึ่งก็คือร่างกายจะเสียสมดุล ทำให้มีธาตุใดมากเกินไป และเสี่ยงต่อโรคต่างๆ ได้) นอกจากนี้ยังมีคนกลุ่มหนึ่งด้วยที่ไม่ควรดื่มน้ำแร่นั้นก็คือ
ชนิดของน้ำแร่ | ผู้ที่ไม่ควรดื่ม |
น้ำแร่ | ผู้ที่บวมน้ำ ผู้ป่วยโรคไต ผู้ที่มีการทำงานของหัวใจไม่ดี |
น้ำแร่ที่มีปริมาณโซเดียมสูง | ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง |
น้ำแร่เกลือโซเดียมคลอไรด์ | ผู้ที่มีการหลั่งกรดในกระเพาะอาหารปริมาณมาก แผลในกระเพาะอาหาร |
น้ำแร่ซัลเฟอร์ | ผู้ป่วยที่มีโรคทางระบบทางเดินหายใจที่มีภาวะหลอดลมหดเกร็ง |
น้ำแร่ไบคาร์บอเนต | ผู้ป่วยที่มีภาวะ gastric hypochilia |
น้ำแร่ซัลเฟต | ผู้ป่วยที่มีโรคที่เกี่ยวกับทางเดินอาหารและมีแผลในทางเดินอาหาร |
ข้อเสียสำหรับผู้ที่ไม่ชอบดื่มน้ำหรือน้ำเปล่า (อันนี้แถม)
การเลือกดื่ม น้ำหวาน น้ำอัดลม หรือ กาฟแทน หรือบางคนอาจดื่มเฉพาะเวลาที่รู้สึกกระหายน้ำเท่านั้น ขอบอกเลยว่าให้เลิกพฤติกรรมนี้ซะจะดีกว่า เพราะว่าเซลล์ทุกเซลล์ในร่างกานจะไปกระไปด้วยน้ำ ถ้าคุณไม่ดื่มน้ำหรือดื่มแต่น้ำหวาน จะส่งผลให้เซลล์ในร่างกายเห-ยี่ยว ร่างกายเข้าสู่ภาวะขาดน้ำ สุขภาพย่ำแย่ ไม่มีสมาธิเพราะสมองขาดน้ำ รู้สึกเหนื่อยและหงุดหงิดง่าย อาจเกิดการตกผลึกของเกลือแร่ทำให้เกิดโรคนิ่วในไตได้ง่าย หัวใจต้องทำงานหนักเป็นอย่างมากเพราะ ในเลือดไม่มีน้ำ แต่กลับมีน้ำตาลอยู่ ทำให้เลือด เหนี่ยวและข้น ยากต่อการที่จะส่งเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย ปาก คอ ผิวพรรณ แห้ง มันมีผลเสียมาเลยใช่ไหม กับการที่ร่างกายขาดน้ำ สำหรับท่านใดที่ไม่ชอบดื่มน้ำเปล่า ก็เริ่มมาดื่มด้วยวิธีการจิ๊บน้ำแทนก่อน จิบบ่อยๆ และค่อยๆเพิ่มปริมาณขึ้น และเราก็จะเคยชินกับการดื่มน้ำไปเอง
ขอขอบคุณ คณะเภสัชศาสตร์ มหิดล, คุณ Nyu และ thaiza.com นะครับที่ให้ข้อมูลมา.
ขอขอบคุณ คณะเภสัชศาสตร์ มหิดล, คุณ Nyu และ thaiza.com นะครับที่ให้ข้อมูลมา.
http://www.youtube.com/watch?v=evx-hFQpVOM
มารู้เรื่องน้ำแร่กัน!
โอตาคุที่ดีไม่จำเป็นต้องรู้เรื่องเมะทุกเรื่อง แต่เป็นโอตาคุที่แบ่งเวลาเป็นต่างหาก
วันที่ 26 พฤศจิกายน 2557 Sodaman ได้ทำการยุติการใช้บอร์ดนี้แล้ว ขอขอบคุณทุกท่านที่อ่านกระทู้ของผมเสมอมานะครับผม.
วันที่ 26 พฤศจิกายน 2557 Sodaman ได้ทำการยุติการใช้บอร์ดนี้แล้ว ขอขอบคุณทุกท่านที่อ่านกระทู้ของผมเสมอมานะครับผม.
[IMG]