วิตามินเป็นสารอินทรีย์ชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญต่อร่างกายแต่ไม่ได้ให้พลังงานกับร่างกาย เป็นเพียงตัวเชื่อมต่อให้ร่างกายได้รับพลังงานจากสารอาหารชนิดอื่น สำหรับร่างกายคนเรามีความต้องการวิตามินเพียงเล็กน้อยแต่ก็ขาดไม่ได้เลย ซึ่งวิตามินที่ได้ค้นพบมีมากกว่า 30 ชนิดแล้ว มีการทดลองจากสัตว์ต่างๆเกี่ยวกับอาหารรวมไปถึงการพบจากความผิดปกติของร่างกายที่ขาดอาหารบางอย่างจะทำให้ร่างกายเรามีความผิดปกติไป วิตามินส่วนมากได้รับจากสารอาหารร่างกายเราเองสามารถสังเคราะห์วิตามินได้น้อย อย่างเช่นวิตามินดี แต่ชนิดอื่นเราต้องได้รับจากอาหารเข้าไปเป็นส่วนใหญ่ ประวัติการค้นพบวิตามิน หลังจากที่ได้รับการค้นพบสารอาหารต่างๆ อย่างเช่น คาร์โบไฮเดรต ไขมัน แร่ธาตุและน้ำ ว่ามีความจำเป็นต่อมนุษย์ ต่อมาได้มีการค้นพบจากการทดลองด้วยวิธีต่างๆ ให้สามารอาหารเปล่านี้ในหนูทดลองชนิดเดียวซ้ำ หรือสารอาหารที่ได้ค้นพบมาแล้วๆ จะทำให้เกิดความผิดปกติต่อร่างกายของหนูจึงยังมีการสรุปว่ายังมีสารอาหารที่ร่างกายมีความจำเป็นอีก จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1911 นักชีวเคมีชาวโปรแลนด์ชื่อฟังก์ ได้ค้นพบสารชนิดหนึ่งที่มีการชื่อว่า “วิตามิน” Vitamins มาจาก Vital + amine และได้ตัด e ออกไป amine เป็นสารอาหารที่มีความสำคัญต่อชีวิต และทีแรกคิดว่ามีสารที่ค้นพบในส่วนประกอบของ amine และต่อมาพบว่าไม่ใช้สารประกอบหรือมีความเกี่ยวข้องกับ amine เพราะว่ามีอยู่ในอาหาร
ในช่วงแรกในการค้นพบที่มีการเรียกวิตามินตามลำดับที่พบ A – Z เพราะไม่ทราบโครงสร้างของสารเคมีของวิตามินเอง จากการพบโครงสร้างในเวลาต่อมาจึงได้มีการเปลี่ยนจากตัวอักษรมาเป็นชื่อเรียกต่างๆ แต่ด้วยความคุ้นเคยก็ยังนิยมเรียกตามตัวอักษรอยู่ ยกเว้นวิตามินที่ได้มีการค้นพบในระยะหลัง
ประเภทวิตามิน
วิตามินสามารถพบได้ทั้งพืชและสัตว์มักพบในพืชมากกว่าและมีความหลากหลายชนิดกว่าที่พบจากสัตว์ วิตามินได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็นกระบวนการของพืชมากกว่า อย่างในคนเรามีการสร้างวิตามินบี 12 ได้จากแบคทีเรียในลำไส้ แต่การแบ่งมักใช้ไขมันและน้ำในการจำแนกของการตัวทำละลาย มีการแบ่งประเภทได้ดังนี้
วิตามินเอ
วิตามินเอ เป็นวิตามินที่มีการค้นพบเป็นอันดับแรก เริ่มแรกมีหลักฐานว่าทางจีนมีการค้นพบใช้ตับสัตว์รักษาโรคเกี่ยวกับการมองเห็นได้ หลังจากนั้นมีการทดลองเรื่อยมา ในปี 1912 นักวิทยาศาสตร์ ฮอปกินด์ ได้พบว่าหนูทดลองของเขามีอาการทางสายตาจึงได้นำเอาน้ำมันตับปลา ให้หนูทดลองกินไม่นานก็หายจากโรค จึงมีชี้เรียกทางเคมีว่า “อะเซียรอฟทอล” ที่ในเรติน่าของตา ที่มีชื่อว่า เรตินอย มีในตับ และอีกรูปของวิตามินเอคือ มีชื่อว่า “แครโรทีน” ที่มีมากในพืชที่เป็นสีเหลือง และยอดผัก เมื่อร่างกายรับเข้าไปจะเปลี่ยนให้เป็นวิตามินเอในผนังลำไส้
แหล่งอาหารของวิตามินเอ พบมากที่สุดคือน้ำมันตับปลา และตับชนิดต่างๆ ผลิตภัณฑ์จากนม และอวัยวะเครื่องในของสัตว์ นมสด ไข่แดง เป็นต้น สำหรับในพืชที่เราพบในรูปแบบของแคโรทีน นั้นจะพบในผักที่เป็นสีเหลือง และเขียวจัด อย่างเช่น พริกชี้ฟ้าแดง แครอท ฟังทอง ผักตำลึง ผลไม้สุก ชนิดต่างๆ
หน้าที่ของวิตามินเอ
การที่ร่างกายจะดูดซึมวิตามินเอ จะได้รับวิตามินเอได้สองรูปแบบคือ เรตินอลและแคโรทีน เรตินอลได้จากสัตว์ จะดูดซึมผ่านผนังเซลล์ไขมันพร้อมไขมัน ส่วนแคโรทีนจะถูกดูดซึมเพียง 1 ใน 3 เข้าสู่ลำไส้เล็กแล้วเปลี่ยนเป็นวิตามินอ แล้วถูดดูดซึมไปตาม หลอดเลือดดำให้กับร่างกายส่วนที่จะเก็บไว้ในตับเป็นวิตามินเอไว้ร้อยละ 90 และเก็บไว้ส่วนเนื้อเยื้อของร่ายกายเป็นส่วนน้อย ร้อยละ 5 – 20 จะถูดขับออกทางอุจจาระ
ความต้องกานต่อวัน
ความต้องการขึ้นอยู่กับบุคคลที่ควรจะได้รับ เพศและวัยโดยเฉพาะหญิงตั้งครรภ์ละให้นมบุตร ควรได้รับ 800 – 1,000 ไมโครกรัม ผู้ใหญ่ปกติ 600 – 700 ไมโครกรัม เด็ก 400 – 500 ไมโครกรับเป็นปริมาณต่อไมโครกรัมต่อวัน หน่วยของวิตามินเอ IU หรือRE มีค่าตามการดูดซ฿มของร่ายกาย
ความผิดปกติขาด – เกินของวิตามินเอ
การได้รับวิตามินเอไม่เพียงพอ: มักจะแสดงออกทางตาเป็นอันดับแรก อย่างเช่น ตาแห้งตาบอด เวลากลางคืนมองเห็นไม่ชัดเวลากลางคืน มองภาพไม่ชัดเจนเมื่อเจอแสงจ้ามากๆ มีการรับแสงของสายตาที่ต่ำกระจกตาแห้ง และส่งผลกระทบต่อระบบอื่นๆ ของร่ายกายเช่นระบบภูมิคุ้มกัน ผิวหนังขรุขระ ไม่เรียบเนียน และมีความผิดปกติในทางเดินอาหาร
การได้รับวิตามินเอมากเกินไป : จะมีอาการปวดข้อ ผมหยาบร่าง เบื่ออาหาร ตับและมีม้ามโต อาการมักได้รับวิตามินเอมากเกินไป หากได้รับในรูปของแคโรทันไม่มีอาการหรือว่ามีน้อยมาก
วิตามินดี
วิตามินดี เป็นวิตามินที่ร่างกายมนุษย์สามารถสังเคราะห์จากผิวหนังและแสงแดด มีชื่อเรียกทางเคมีว่า แคลซิเฟอรอน (Calciferol) ถูกค้นพบในปี ค.ศ. 1922 โดยดร.แมคคอลลิ่ม มีการค้นพบว่าช่วยป้องกันโรคกรดดูดอ่อน วิตามินที่ไม่ละลายน้ำแต่ละลายในไขมัน ทนต่อความร้อนได้ดีเป็นผนึกสีขาว สูญเสียง่ายเมื่อถูกแสงแดด วิตามินดี มีการแบ่งออกเป็นสองชนิดคือ
วิตามินดี 2 (Calciferol) เกิดจากการเปลี่ยนแปลงเอสโตสเตอรอลจากอุลต้าไวโอเลต ที่มีในพืชเป็นผลึกสีขาวทนความร้อน พบในพืชในชั้นต่ำ
วิตามินดี 3 (Dehydrocholesterol) เกิดจากแสงอุตร้าไวโอเลตมาถูกผิวคนและเป็นวิตามินดี 3 แตกต่างจาก ดี 2 ที่ได้จากพืช
ความสำคัญวิตามินดี
การได้รับวิตามินดีจากสารอาหารจะถูกซึมผ่านสำไส้เล็ก จะมีน้ำเหลืองช่วยในการดูดซึม วิตามินดี 3 เมื่อถูดผิวหนังในร่างกานจะถูกเปลี่ยนแปลงเป็นวิตามินดี 3 จะถูกเข้าสู่กระแสเลือดจะมีการเก็บสะสมได้ในเนื้อเยื่อไขมัน บางส่วนขับขออกทางอุจาระและปัสสาวะ
ปริมาณที่ควรได้รับต่อวัน เกิดและผู้ใหญ่ควรได้รับวิตามินดีวันละ 5 ไมโครกรัมต่อวัน ผู้หญิงมีครรภ์และผู้สูงอายุต้องได้รับ 10 ไมโครกรับต่อวัน
แหล่งอาหารของวิตามินดีมีมากใน นม ตับปลา ไขแดง เนยเทียม ธัญพืช และได้รับแสงแดดในตอนเช้าและเย็น
ผลจากการขาดวิตามินดี
จะทำให้เกิดภาวะของแคลเซียมในเลือดสูงเกินไป ส่งผลทำให้มีอาการท้องผูก น้ำหนักลด ปัสสาวะบ่อย
ในช่วงแรกในการค้นพบที่มีการเรียกวิตามินตามลำดับที่พบ A – Z เพราะไม่ทราบโครงสร้างของสารเคมีของวิตามินเอง จากการพบโครงสร้างในเวลาต่อมาจึงได้มีการเปลี่ยนจากตัวอักษรมาเป็นชื่อเรียกต่างๆ แต่ด้วยความคุ้นเคยก็ยังนิยมเรียกตามตัวอักษรอยู่ ยกเว้นวิตามินที่ได้มีการค้นพบในระยะหลัง
ประเภทวิตามิน
วิตามินสามารถพบได้ทั้งพืชและสัตว์มักพบในพืชมากกว่าและมีความหลากหลายชนิดกว่าที่พบจากสัตว์ วิตามินได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็นกระบวนการของพืชมากกว่า อย่างในคนเรามีการสร้างวิตามินบี 12 ได้จากแบคทีเรียในลำไส้ แต่การแบ่งมักใช้ไขมันและน้ำในการจำแนกของการตัวทำละลาย มีการแบ่งประเภทได้ดังนี้
- วิตามินที่ละลายในไขมัน วิตามินกลุ่มนี้จะละลายในไขมันเท่านั้น จะไม่สูญเสียด้วยความร้อนจะถูกดูดซึมไปพร้อมไขมัน ถูกขับออกจากทางอุจจาระได้เล็กน้อย ร่างกายมีการสะสมไว้ในตับส่วนมากหากได้รับมากอาจจะมีผลต่อร่างกายอย่างเช่นการแพ้ วิตามินที่ละลายในไขมันได้แต่ เอ,ดี,อี,เค
- วิตามินที่ละลายในน้ำ ละลายในน้ำได้ง่าย มักถูกทำลายด้วยความร้อน อากาศ ด่าง แสง สามารถที่จะดูดซึมได้ง่าย ไม่มีการสะสมไว้ในร่างกายจะถูกขับออกทางปัสสาวะในทุกๆ วัน เราต้องต้องการวิตามินเหล่านี้ให้เพียงพอพอ ได้แก่ วิตามิน บีรวม และวิตามินซี นอกจากนั้นยังไม่โฟรเลท ไอโอนิค ไออะซิน กรดแพนโทเรนิก
วิตามินเอ
วิตามินเอ เป็นวิตามินที่มีการค้นพบเป็นอันดับแรก เริ่มแรกมีหลักฐานว่าทางจีนมีการค้นพบใช้ตับสัตว์รักษาโรคเกี่ยวกับการมองเห็นได้ หลังจากนั้นมีการทดลองเรื่อยมา ในปี 1912 นักวิทยาศาสตร์ ฮอปกินด์ ได้พบว่าหนูทดลองของเขามีอาการทางสายตาจึงได้นำเอาน้ำมันตับปลา ให้หนูทดลองกินไม่นานก็หายจากโรค จึงมีชี้เรียกทางเคมีว่า “อะเซียรอฟทอล” ที่ในเรติน่าของตา ที่มีชื่อว่า เรตินอย มีในตับ และอีกรูปของวิตามินเอคือ มีชื่อว่า “แครโรทีน” ที่มีมากในพืชที่เป็นสีเหลือง และยอดผัก เมื่อร่างกายรับเข้าไปจะเปลี่ยนให้เป็นวิตามินเอในผนังลำไส้
แหล่งอาหารของวิตามินเอ พบมากที่สุดคือน้ำมันตับปลา และตับชนิดต่างๆ ผลิตภัณฑ์จากนม และอวัยวะเครื่องในของสัตว์ นมสด ไข่แดง เป็นต้น สำหรับในพืชที่เราพบในรูปแบบของแคโรทีน นั้นจะพบในผักที่เป็นสีเหลือง และเขียวจัด อย่างเช่น พริกชี้ฟ้าแดง แครอท ฟังทอง ผักตำลึง ผลไม้สุก ชนิดต่างๆ
หน้าที่ของวิตามินเอ
- ส่วนประกอบของการมองเห็น มีความเกี่ยวข้องกับเรติน่าของตา ทำหน้าที่ปรับการมองเห็นของแสง แสงสว่างน้อย ทำให้เกิดการมองเห็นที่ดีขึ้น
- รักษาเซลล์ผิว วิตามินเอ ทำหน้าที่รักษาสภาพเยื่อบุบริเวณต่างๆ ให้เป็นปกติ ร่วมกับเยื่อบุนัยต์ตาไม่ให้แห้ง รักษาสภาพเซลล์ให้เป็นปกติ
- ป้องกันเชื้อโรค ช่วยในการทำงานของเม็กเลือดขาวให้ต้านเชื้อโรคได้ดี
- สร้างกระดูกและฟัน หากร่างกายได้รับปริมาณวิตามินเอไม่เพียงพอที่จะทำให้การเจริญเติบโตของกระดูดเปลี่ยนแปลงไป ร่วมกับจะทำให้ฟันผุได้ง่าย
- การเจริญเติบโตของร่างกาย เพราะวิตามินเอช่วยในการแบ่งเซลล์ต่างๆ
- ต้านการเกิดออกซิเดชั่น ควบคุมอนุมูลอิสระในร่างกาย ร่างกายต้องกานเบต้าแคโรทีน เพื่อไปทำลายเซลล์ที่ผิดปกติที่ทำให้เกิดมะเร็งได้
การที่ร่างกายจะดูดซึมวิตามินเอ จะได้รับวิตามินเอได้สองรูปแบบคือ เรตินอลและแคโรทีน เรตินอลได้จากสัตว์ จะดูดซึมผ่านผนังเซลล์ไขมันพร้อมไขมัน ส่วนแคโรทีนจะถูกดูดซึมเพียง 1 ใน 3 เข้าสู่ลำไส้เล็กแล้วเปลี่ยนเป็นวิตามินอ แล้วถูดดูดซึมไปตาม หลอดเลือดดำให้กับร่างกายส่วนที่จะเก็บไว้ในตับเป็นวิตามินเอไว้ร้อยละ 90 และเก็บไว้ส่วนเนื้อเยื้อของร่ายกายเป็นส่วนน้อย ร้อยละ 5 – 20 จะถูดขับออกทางอุจจาระ
ความต้องกานต่อวัน
ความต้องการขึ้นอยู่กับบุคคลที่ควรจะได้รับ เพศและวัยโดยเฉพาะหญิงตั้งครรภ์ละให้นมบุตร ควรได้รับ 800 – 1,000 ไมโครกรัม ผู้ใหญ่ปกติ 600 – 700 ไมโครกรัม เด็ก 400 – 500 ไมโครกรับเป็นปริมาณต่อไมโครกรัมต่อวัน หน่วยของวิตามินเอ IU หรือRE มีค่าตามการดูดซ฿มของร่ายกาย
ความผิดปกติขาด – เกินของวิตามินเอ
การได้รับวิตามินเอไม่เพียงพอ: มักจะแสดงออกทางตาเป็นอันดับแรก อย่างเช่น ตาแห้งตาบอด เวลากลางคืนมองเห็นไม่ชัดเวลากลางคืน มองภาพไม่ชัดเจนเมื่อเจอแสงจ้ามากๆ มีการรับแสงของสายตาที่ต่ำกระจกตาแห้ง และส่งผลกระทบต่อระบบอื่นๆ ของร่ายกายเช่นระบบภูมิคุ้มกัน ผิวหนังขรุขระ ไม่เรียบเนียน และมีความผิดปกติในทางเดินอาหาร
การได้รับวิตามินเอมากเกินไป : จะมีอาการปวดข้อ ผมหยาบร่าง เบื่ออาหาร ตับและมีม้ามโต อาการมักได้รับวิตามินเอมากเกินไป หากได้รับในรูปของแคโรทันไม่มีอาการหรือว่ามีน้อยมาก
วิตามินดี
วิตามินดี เป็นวิตามินที่ร่างกายมนุษย์สามารถสังเคราะห์จากผิวหนังและแสงแดด มีชื่อเรียกทางเคมีว่า แคลซิเฟอรอน (Calciferol) ถูกค้นพบในปี ค.ศ. 1922 โดยดร.แมคคอลลิ่ม มีการค้นพบว่าช่วยป้องกันโรคกรดดูดอ่อน วิตามินที่ไม่ละลายน้ำแต่ละลายในไขมัน ทนต่อความร้อนได้ดีเป็นผนึกสีขาว สูญเสียง่ายเมื่อถูกแสงแดด วิตามินดี มีการแบ่งออกเป็นสองชนิดคือ
วิตามินดี 2 (Calciferol) เกิดจากการเปลี่ยนแปลงเอสโตสเตอรอลจากอุลต้าไวโอเลต ที่มีในพืชเป็นผลึกสีขาวทนความร้อน พบในพืชในชั้นต่ำ
วิตามินดี 3 (Dehydrocholesterol) เกิดจากแสงอุตร้าไวโอเลตมาถูกผิวคนและเป็นวิตามินดี 3 แตกต่างจาก ดี 2 ที่ได้จากพืช
ความสำคัญวิตามินดี
- ช่วยความคุมดูแลแคลเซียมและฟอสฟอรัส วิตามินดีจะช่วยให้แคลเซียมและฟอสฟอรัส สามารถดูดซึมผ่านผนังลำไส้ได้ดี
- ป้องกันโรคกระดุดอ่อน
- รักษาปริมาณแคลเซียมในเลือด ให้อยู่ในระดับการทำงานที่ปกติของเซลล์
- ช่วยในการทำงานของเอนไซม์บางชนิด
การได้รับวิตามินดีจากสารอาหารจะถูกซึมผ่านสำไส้เล็ก จะมีน้ำเหลืองช่วยในการดูดซึม วิตามินดี 3 เมื่อถูดผิวหนังในร่างกานจะถูกเปลี่ยนแปลงเป็นวิตามินดี 3 จะถูกเข้าสู่กระแสเลือดจะมีการเก็บสะสมได้ในเนื้อเยื่อไขมัน บางส่วนขับขออกทางอุจาระและปัสสาวะ
ปริมาณที่ควรได้รับต่อวัน เกิดและผู้ใหญ่ควรได้รับวิตามินดีวันละ 5 ไมโครกรัมต่อวัน ผู้หญิงมีครรภ์และผู้สูงอายุต้องได้รับ 10 ไมโครกรับต่อวัน
แหล่งอาหารของวิตามินดีมีมากใน นม ตับปลา ไขแดง เนยเทียม ธัญพืช และได้รับแสงแดดในตอนเช้าและเย็น
ผลจากการขาดวิตามินดี
- กระดูกอ่อน สามารถเกิดได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ในเด็กจะมีรูปร่างของขาที่ผิดปกติ กะโหลกศีรษะใหญ่และนิ่ม ส่วนผู้ใหญ่จะมีอาการเจ็บปวดตามข้อ กระดูกหักง่าย และมีอาการฟันผุได้ง่าย
- ทำให้กล้ามเนื้อกระตุก เนื่องจากระดับแคลเซียมในเลือดต่ำกว่าปกติ
จะทำให้เกิดภาวะของแคลเซียมในเลือดสูงเกินไป ส่งผลทำให้มีอาการท้องผูก น้ำหนักลด ปัสสาวะบ่อย
สาระน่ารู้ วิตามินต่างๆ
[IMG]